เอานกไปตรวจเลือดมาแล้ว..แต่ยังคาใจกลัวน้ำยาผิด..เกรย์ครับ

เริ่มโดย กิตติ, พฤษภาคม 08, 2009, 09:24:08 หลังเที่ยง

หัวข้อก่อนหน้า - หัวข้อถัดไป

0 สมาชิก และ 1 ผู้มาเยือน กำลังดูหัวข้อนี้

กิตติ

:-D   8-)  :pint:  :hammer:

Bloodiez

ถามหน่อยครับว่า เจาะตรวจเพศนก นี้ทำได้ที่คลินิคสัตว์ทั่วไปไหมครับ หรือต้องไปตามโรงพยาบาล ครับ เเล้วเจาะวันเดียวรู้ผลไหมครับ ค่าใช้จ่ายเท่าไหร่ครับ

สายลม

เท่าที่รู้ เจาะได้ที่ร.พ.สัตว์เกษตรกับมหิดลนะครับ
ค่าเจาะตัวละ 500 บาท ผลเค้าจะส่งมาทีหลังครับ

sparrow

เกี่ยวกับการแยกตรวจแยกเพศในนกนั้น  อยากจะแชร์ความรู้นิดนึงครับ   ปกติแล้วการแยกเพศในนกนั้นทำได้หลายวิธี ได้แก่

1 การดูจากลักษณะภายนอก : วิธีนี้ใช้ได้กับนกบางประเภทครับที่มีลักษณะภายนอกแตกต่างกันอย่างชัดเจนหระหว่างตัวผู้และตัวเมีย  แต่มีนกจำนวนไม่น้อยที่ไม่สามารถแยกเพศได้จากลักษณะภายนอก  นกบางชนิดสามารถแยกได้โดยวิธีนี้แต่ต้องถึงช่วงอายุที่เหมาะสมจึงจะแยกเพศได้เพราะจะแสดงลักษณะที่แตกต่างกันออกมา  เช่น Ring Neck เป็นต้น

2 การสังเกตุพฤติกรรม : วิธีนี้ใช้ได้เมื่อนกอยู่ในช่วงวับเจริญพันธุ์ครับ  ซึ่งจะแสดงพฤติกรรมบางอย่างที่บ่งบอกลักษณะเพศ  เช่น นกคอกคาเทล  ที่ตัวผู้มักจะมีพฤติกรรมที่บางคนเรียกว่าร้องเพลง  นกบางตัวอาจะจะแสดงพฤติกรรมการเกี่ยวพาราสี  หรือผสมพันธุ์  แต่พบได้บ่อยๆที่นกมีพฤติกรรมคล้ายกระเทย  หรือทอม

3 การจับตะเกียบ : เป็นวิธีการที่ทำได้โดยการจับคลำบริเวณอุ้งเชิงกรานของนก  ซึ่งตามธรรมชาตินกเป็นสัตว์ที่มีอุ้งเชิงกรานด้านล่างไม่เชื่อมติดกัน  ซึ่งต่างกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่กระดูกเชิงกรานจะปิด  ทั้งนี้เป็นเพราะวิวัฒนาการเพื่อการปรับตัวทางกายวิภาคของร่างกายให้เหมาะสมกับการวางไข่   ซึ่งหากผู้ปฏิบัติมีความชำนาญอาจจะแยกแยะความแตกต่างระหว่างนกเพศผู้และเพศเมียได้  แต่วิธีนี้มีโอกาสผิดพลาดพอสมควรขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติ  และอายุของนกก็มีผลเป็นอย่างมากเพราะนกที่อายุน้อยอุ้งเชิงกรานจะไม่ขยาย  ทำให้แยกแยะความแตกต่างได้ยาก  นอกจากนี้วิธีนี้อาจปฏิบัติได้ยากในนกที่มีขนาดใหญ่เพราะปัญหาเรื่องการจับบังคับ

4 การตรวจฮอร์โมน : ในอดีตมีงานวิจัยหลายชิ้นที่บ่งบอกเกี่ยวกับปริมาณของฮอร์โมนบางชนิดในร่างกายที่มีความสัมพันธ์กับเพศของนก  แต่ปัจจุบันวิธีนี้ไม่ได้รับความนิยมแล้วครับ  เพราะยุ่งยาก  เสียค่าใช้จ่ายมาก หาที่ตรวจลำบาก และต้องใช้เลือดปริมาณมาก  

5 การตรวจแยกเพศโดยการส่องกล้องผ่านท่านทางช่องท้อง : เป็นวิธีที่ถือว่าแม่นยำมากที่สุด  กระทำโดยใช้กล้องขนาดเล็กส่องผ่านเข้าไปในช่องท้องเพื่อดูอวัยะเพศ  ทั้งนี้ยังมีข้อดีอีกอย่างคือสามารถบอกได้ว่านกอยู่ในระยะเจริญพันธุ์หรือยัง  แต่วิธีนี้ก็มีข้อเสียอยู่มากครับ  คือกระทำได้เฉพาะในนกขนาดใหญ่เท่านั้น  เพราะกล้องมีขนาดใหญ๋   นกที่จะตรวจด้วยวิธีนี้จะต้องถูกวางยาสลบ   ซึ่งหากปฏิบัติโดยสัตวแพทย์ที่มีความชำนาญก็จะไม่มีปัญหาอะไร

6 การตรวจแยกเพศด้วยเทคนิคทางชีวโมเลกุล : วิธีนี้ได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน  เพราะมีความแม่นยำสูง  นกเจ็บตัวน้อย  และราคาไม่แพง  การตรวจด้วยวิธีนี้ต้องการเลือดหรือเซลล์บริเวณปลายขุมขน (แล้ววิธีที่ห้องปฏิบัติการนั้นๆใช้) เพียงปริมาณเล็กน้อย  เพื่อสกัดดีเอ็นเอ แล้วนำไปตรวจสอบยีนที่มีความแตกต่างกันระหว่างเพศผู้และเพศเมีย  แต่ก็มีข้อเสียอยู่บ้างคือ  สถานที่รับตรวจมีจำกัด  การตรวจมีโอกาสเกิดผลลวงได้ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติ  นอกจากนี้สารเคมีที่เลือกใช้ก็มีผลอย่างมากเหมือนกัน  เจอบ่อยๆครับที่ตรวจมาเป็นเพศนึง  แต่พอเลี้ยงๆไปกลับกลายเป็นอีกเพศนึง  อันนี้ก็ต้องเลือกกันเอาเองนะครับว่าห้องแลปไหนที่ตัวเองคิดว่าน่าเชื่อถือ

สำหรับวิธีการแยกเพศในนกก็มีเท่านี้  ทีนี่ถ้าถามว่า คลินิก หรือ โรงพยาบาลสัตว์ทั่วไปกระทำได้หรือไม่  ก็บอกได้ว่าสามวิธีหลังนี้ทำไม่ได้ที่คลินิกหรือโรงพยาบาลสัตว์ทั่วไปครับ  เพราะต้องใช้เครื่องมือ  อุปกรณ์และสารเคมีที่มีราคาแพง  และไม่คุ้มค่าแก่การลงทุนครับ  วิธีที่ 5 อาจมีบางทีสามารถทำได้ครับ   ส่วนวิธีสุดท้ายนั้น  ในอดีตต้องส่งตรวจต่างประเทศ  แต่ปัจจุบันมีหลายแลปในประเทศไทยทำได้ครับ ทั้งรัฐบาลและเอกชน  ราคาไม่แพง จะเป็นที่ไหนบ้างนั้นติดตามข่าวสารในเวปนี้ก็คงพอจะทราบครับ

สำหรับระยะเวลาในการตรวจนั้น จริงๆแล้วสำหรับวิธีที่ 6 นั้น  หากหลังจากเก็บตัวอย่างเลือดแล้วรีบตรวจทันทีนั้นจะใช้เวลาทั้งกระบวนการเป็นเวลา 3 - 4 ชั่วโมงครับ  แต่บางครั้งด้วยความสะดวกหรือข้อจำกัดในหลายๆด้านของทางห้องปฏิบัติการ  อาจทำให้ต้องรอตัวอย่างพร้อมๆกันหลายตัวอย่างครับ  ฉะนั้นโดยทั่วๆไปแล้วก็ให้ประมาณการว่าสำหรับการตรวจหนึ่งครั้งใช้เวลาประมาณ 1 สัปดาห์
laboratory of Animal Reproductive Biotechnology
รับบริจาคนกที่สิ้นชีวิตแล้วเพื่อการศึกษา......เป็นวิทยาทานนะคร้าบบบบบบบบ

bios_m

อ้างถึงกิตติ พงษ์หนู เป็นผู้เขียน:
ผลการตรวจออกมาน่สพอใจ..แต่กลัวเจอน้ำยาผิดอีก..กำๆ

อย่างที่ผมเคยคุยกับพี่น้อยครับ อาจจะต้องมีตรวจซ้ำ หรือถ้าให้ชัวร์แบบสุดส่องกล้องครับชัวร์ที่สุดแน่นอน
RE-AMEMIYA : ลมป่าภูเขาไฟ

กิตติ

คุณ sparrow กรุณา อธิบายการแยกเพศของ เกรย์ อย่างละเอียดให้ผม เป็นวิทยาทาน หน่อยครับ ทางกายวิภาคและลักษณะภาพนอก ครับ ขอบคุณครับ
อ้างถึงsparrow เป็นผู้เขียน:
เกี่ยวกับการแยกตรวจแยกเพศในนกนั้น  อยากจะแชร์ความรู้นิดนึงครับ   ปกติแล้วการแยกเพศในนกนั้นทำได้หลายวิธี ได้แก่

1 การดูจากลักษณะภายนอก : วิธีนี้ใช้ได้กับนกบางประเภทครับที่มีลักษณะภายนอกแตกต่างกันอย่างชัดเจนหระหว่างตัวผู้และตัวเมีย  แต่มีนกจำนวนไม่น้อยที่ไม่สามารถแยกเพศได้จากลักษณะภายนอก  นกบางชนิดสามารถแยกได้โดยวิธีนี้แต่ต้องถึงช่วงอายุที่เหมาะสมจึงจะแยกเพศได้เพราะจะแสดงลักษณะที่แตกต่างกันออกมา  เช่น Ring Neck เป็นต้น

2 การสังเกตุพฤติกรรม : วิธีนี้ใช้ได้เมื่อนกอยู่ในช่วงวับเจริญพันธุ์ครับ  ซึ่งจะแสดงพฤติกรรมบางอย่างที่บ่งบอกลักษณะเพศ  เช่น นกคอกคาเทล  ที่ตัวผู้มักจะมีพฤติกรรมที่บางคนเรียกว่าร้องเพลง  นกบางตัวอาจะจะแสดงพฤติกรรมการเกี่ยวพาราสี  หรือผสมพันธุ์  แต่พบได้บ่อยๆที่นกมีพฤติกรรมคล้ายกระเทย  หรือทอม

3 การจับตะเกียบ : เป็นวิธีการที่ทำได้โดยการจับคลำบริเวณอุ้งเชิงกรานของนก  ซึ่งตามธรรมชาตินกเป็นสัตว์ที่มีอุ้งเชิงกรานด้านล่างไม่เชื่อมติดกัน  ซึ่งต่างกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่กระดูกเชิงกรานจะปิด  ทั้งนี้เป็นเพราะวิวัฒนาการเพื่อการปรับตัวทางกายวิภาคของร่างกายให้เหมาะสมกับการวางไข่   ซึ่งหากผู้ปฏิบัติมีความชำนาญอาจจะแยกแยะความแตกต่างระหว่างนกเพศผู้และเพศเมียได้  แต่วิธีนี้มีโอกาสผิดพลาดพอสมควรขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติ  และอายุของนกก็มีผลเป็นอย่างมากเพราะนกที่อายุน้อยอุ้งเชิงกรานจะไม่ขยาย  ทำให้แยกแยะความแตกต่างได้ยาก  นอกจากนี้วิธีนี้อาจปฏิบัติได้ยากในนกที่มีขนาดใหญ่เพราะปัญหาเรื่องการจับบังคับ

4 การตรวจฮอร์โมน : ในอดีตมีงานวิจัยหลายชิ้นที่บ่งบอกเกี่ยวกับปริมาณของฮอร์โมนบางชนิดในร่างกายที่มีความสัมพันธ์กับเพศของนก  แต่ปัจจุบันวิธีนี้ไม่ได้รับความนิยมแล้วครับ  เพราะยุ่งยาก  เสียค่าใช้จ่ายมาก หาที่ตรวจลำบาก และต้องใช้เลือดปริมาณมาก  

5 การตรวจแยกเพศโดยการส่องกล้องผ่านท่านทางช่องท้อง : เป็นวิธีที่ถือว่าแม่นยำมากที่สุด  กระทำโดยใช้กล้องขนาดเล็กส่องผ่านเข้าไปในช่องท้องเพื่อดูอวัยะเพศ  ทั้งนี้ยังมีข้อดีอีกอย่างคือสามารถบอกได้ว่านกอยู่ในระยะเจริญพันธุ์หรือยัง  แต่วิธีนี้ก็มีข้อเสียอยู่มากครับ  คือกระทำได้เฉพาะในนกขนาดใหญ่เท่านั้น  เพราะกล้องมีขนาดใหญ๋   นกที่จะตรวจด้วยวิธีนี้จะต้องถูกวางยาสลบ   ซึ่งหากปฏิบัติโดยสัตวแพทย์ที่มีความชำนาญก็จะไม่มีปัญหาอะไร

6 การตรวจแยกเพศด้วยเทคนิคทางชีวโมเลกุล : วิธีนี้ได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน  เพราะมีความแม่นยำสูง  นกเจ็บตัวน้อย  และราคาไม่แพง  การตรวจด้วยวิธีนี้ต้องการเลือดหรือเซลล์บริเวณปลายขุมขน (แล้ววิธีที่ห้องปฏิบัติการนั้นๆใช้) เพียงปริมาณเล็กน้อย  เพื่อสกัดดีเอ็นเอ แล้วนำไปตรวจสอบยีนที่มีความแตกต่างกันระหว่างเพศผู้และเพศเมีย  แต่ก็มีข้อเสียอยู่บ้างคือ  สถานที่รับตรวจมีจำกัด  การตรวจมีโอกาสเกิดผลลวงได้ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติ  นอกจากนี้สารเคมีที่เลือกใช้ก็มีผลอย่างมากเหมือนกัน  เจอบ่อยๆครับที่ตรวจมาเป็นเพศนึง  แต่พอเลี้ยงๆไปกลับกลายเป็นอีกเพศนึง  อันนี้ก็ต้องเลือกกันเอาเองนะครับว่าห้องแลปไหนที่ตัวเองคิดว่าน่าเชื่อถือ

สำหรับวิธีการแยกเพศในนกก็มีเท่านี้  ทีนี่ถ้าถามว่า คลินิก หรือ โรงพยาบาลสัตว์ทั่วไปกระทำได้หรือไม่  ก็บอกได้ว่าสามวิธีหลังนี้ทำไม่ได้ที่คลินิกหรือโรงพยาบาลสัตว์ทั่วไปครับ  เพราะต้องใช้เครื่องมือ  อุปกรณ์และสารเคมีที่มีราคาแพง  และไม่คุ้มค่าแก่การลงทุนครับ  วิธีที่ 5 อาจมีบางทีสามารถทำได้ครับ   ส่วนวิธีสุดท้ายนั้น  ในอดีตต้องส่งตรวจต่างประเทศ  แต่ปัจจุบันมีหลายแลปในประเทศไทยทำได้ครับ ทั้งรัฐบาลและเอกชน  ราคาไม่แพง จะเป็นที่ไหนบ้างนั้นติดตามข่าวสารในเวปนี้ก็คงพอจะทราบครับ

สำหรับระยะเวลาในการตรวจนั้น จริงๆแล้วสำหรับวิธีที่ 6 นั้น  หากหลังจากเก็บตัวอย่างเลือดแล้วรีบตรวจทันทีนั้นจะใช้เวลาทั้งกระบวนการเป็นเวลา 3 - 4 ชั่วโมงครับ  แต่บางครั้งด้วยความสะดวกหรือข้อจำกัดในหลายๆด้านของทางห้องปฏิบัติการ  อาจทำให้ต้องรอตัวอย่างพร้อมๆกันหลายตัวอย่างครับ  ฉะนั้นโดยทั่วๆไปแล้วก็ให้ประมาณการว่าสำหรับการตรวจหนึ่งครั้งใช้เวลาประมาณ 1 สัปดาห์
:-D   8-)  :pint:  :hammer:

sparrow

ก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจนิดนึงก่อนนะครับ  คำว่า 'กายวิภาค' ในที่นี้ ภาษาอังกฤษจะใช้คำว่า Anatomy ครับ  หมายถึงส่วนประกอบต่างๆของร่างกายทั้งภายในและภายนอกร่ายกายครับ

สำหรับนกเกรย์นั้น  นอกจากการจับคลำตะเกียบ (ซึ่งทำได้ยากพอสมควร) ส่วนตัวผมแล้วผมคิดว่าเป็นนกที่แยกเพศจากภายนอกได้ยากครับ  หากไปถามเจ้าพ่อเกรย์บางคนก็อาจได้คำตอบว่าแยกได้จากภายนอก  คือตัวผู้จะมีหัวใหญ่  และมีสีเข้มกว่าตัวเมียครับ  เรื่องสีนี้อาจจะดูยากนิดนึง  แต่หากมีตัวเปรียบเทียบแล้วก็จะช่วยให้ดูง่ายขึ้น  

แต่ก็อีกนั่นแหละครับ  มีคนมีความเห็นแย้งหลายคนเหมือนกัน  โดยเฉพาะเรื่องสีครับ  มีคนบอกว่าสีสามารถเปลี่ยนได้อาจเข้มหรือจางลงได้ครับ  ซึ่งโดยสรุปแล้วผมคิดว่าดูจากภายนอกอาจจะสัณนิษฐานได้แต่ก็คงไม่ร้อยเปอร์เซนต์ครับ  ควรเจาะเลือดตรวจเพศดูครับ
laboratory of Animal Reproductive Biotechnology
รับบริจาคนกที่สิ้นชีวิตแล้วเพื่อการศึกษา......เป็นวิทยาทานนะคร้าบบบบบบบบ

กิตติ

สรุปว่าเพศของนกชนิดนี้สามารถชี้ขาดโดยการส่องกล้องสิครับ
อ้างถึงsparrow เป็นผู้เขียน:
ก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจนิดนึงก่อนนะครับ  คำว่า 'กายวิภาค' ในที่นี้ ภาษาอังกฤษจะใช้คำว่า Anatomy ครับ  หมายถึงส่วนประกอบต่างๆของร่างกายทั้งภายในและภายนอกร่ายกายครับ

สำหรับนกเกรย์นั้น  นอกจากการจับคลำตะเกียบ (ซึ่งทำได้ยากพอสมควร) ส่วนตัวผมแล้วผมคิดว่าเป็นนกที่แยกเพศจากภายนอกได้ยากครับ  หากไปถามเจ้าพ่อเกรย์บางคนก็อาจได้คำตอบว่าแยกได้จากภายนอก  คือตัวผู้จะมีหัวใหญ่  และมีสีเข้มกว่าตัวเมียครับ  เรื่องสีนี้อาจจะดูยากนิดนึง  แต่หากมีตัวเปรียบเทียบแล้วก็จะช่วยให้ดูง่ายขึ้น  

แต่ก็อีกนั่นแหละครับ  มีคนมีความเห็นแย้งหลายคนเหมือนกัน  โดยเฉพาะเรื่องสีครับ  มีคนบอกว่าสีสามารถเปลี่ยนได้อาจเข้มหรือจางลงได้ครับ  ซึ่งโดยสรุปแล้วผมคิดว่าดูจากภายนอกอาจจะสัณนิษฐานได้แต่ก็คงไม่ร้อยเปอร์เซนต์ครับ  ควรเจาะเลือดตรวจเพศดูครับ
:-D   8-)  :pint:  :hammer:

ลุงน้อย

หากผลการตรวจเลือด ออกมามีทั้งเพศผู้ เพศเมีย  คงไม่ต้องสงสัยเรื่องน้ำยาแล้วครับ  

ที่ผมเจอคือ 6 ตัว ตัวผู้หมด  เลยต้องโทรไปแย้งซะหน่อย แล้วอยากที่บอกไว้ว่า เขาโทรมาขอตัวอย่างใหม่ 2 ตัวเท่านั้น เขาบอกว่า ไม่แน่ใจแค่ 2 ตัว  แต่ผมขอวัดส่งใหม่ 10 ตัวเพื่อยืนยันความน่าเชื่อถือ  โดยที่ไม่บอกหมายเลขเดิม ใส่เป็นเบอร์ 1 - 10 ซึ่งผลออกมาตรงเดิม 8 ตัว และ อีก 2 ตัว ที่ไม่ตรงคือ 2 ตัวที่เขาขอให้ส่งผลเลือดใหม่ครับ

ผมถึงเชื่อว่า น้ำยาที่ตรวจ หากทำตามวิธีที่ถูกต้องแล้ว ต้องได้ผลที่ยืนยันได้ครับ  แล้วผลของคุณกิตติ มีท้ง ผู้และเมีย ไม่น่าจะมีปัญหานะครับ

สำหรับการส่องกล้องนั้น  ได้ผลแน่นอนกว่าการตรวจเลือดชัวร์  แต่มักจะทำกับนกใหญ่ เพราะจะได้รู้ถึงความสมบูรณ์ของนกตัวนั้นๆ ว่าพร้อมจะทำพันธุ์หรือไม่  ทำให้รู้ว่า มีความหวังที่จะต้องรออีกนานเพียงใดครับ
ลุงน้อย แสนดี. 555

กิตติ

ขอบคุณครับลุงน้อย...ผลการตรวจของผมคงจะดีแต่ก่อนหน้านี้ผมเองก็ถูงหลอกมาหลายลายเลยครับ..ขนาดลูกป้อนเกร์ยที่ลุงน้อยเห็นที่บ้านผมคงจำได้ มันยังเป็นเพศเดียวกันเลย
นี่ถ้าผมมีควารู้ในการแยกเพศของนกเบื่องต้นก่อนตัดสินใจซื้อ และทำข้อตกลงอย่างที่ลุงน้อยแนะนำไว้ ในโพส พวกมือใหม่อย่างพวกผมคงจะรู้ทันพวงพ่อค้าที่นิสัยเสียกันบ่างนะครับ อย่างน้อยเราก็ลดโอกาศที่จะเกิดการผิดผลาดลงไปได้มากเลยครับ
อ้างถึงลุงน้อย เป็นผู้เขียน:
หากผลการตรวจเลือด ออกมามีทั้งเพศผู้ เพศเมีย  คงไม่ต้องสงสัยเรื่องน้ำยาแล้วครับ  

ที่ผมเจอคือ 6 ตัว ตัวผู้หมด  เลยต้องโทรไปแย้งซะหน่อย แล้วอยากที่บอกไว้ว่า เขาโทรมาขอตัวอย่างใหม่ 2 ตัวเท่านั้น เขาบอกว่า ไม่แน่ใจแค่ 2 ตัว  แต่ผมขอวัดส่งใหม่ 10 ตัวเพื่อยืนยันความน่าเชื่อถือ  โดยที่ไม่บอกหมายเลขเดิม ใส่เป็นเบอร์ 1 - 10 ซึ่งผลออกมาตรงเดิม 8 ตัว และ อีก 2 ตัว ที่ไม่ตรงคือ 2 ตัวที่เขาขอให้ส่งผลเลือดใหม่ครับ [/color] ขอบคุณครับลุงน้อย...ผลการตรวจของผมคงจะดีแต่ก่อนหน้านี้ผมเองก็ถูงหลอกมาหลายลายเลยครับ..ขนาดลูกป้อนเกร์ยที่ลุงน้อยเห็นที่บ้านผมคงจำได้ มันยังเป็นเพศเดียวกันเลย
นี่ถ้าผมมีควารู้ในการแยกเพศของนกเบื่องต้นก่อนตัดสินใจซื้อ และทำข้อตกลงอย่างที่ลุงน้อยแนะนำไว้ ในโพส พวกมือใหม่อย่างพวกผมคงจะรู้ทันพวงพ่อค้าที่นิสัยเสียกันบ่างนะครับ อย่างน้อยเราก็ลดโอกาศที่จะเกิดการผิดผลาดลงไปได้มากเลยครับ
อ้างถึงลุงน้อย เป็นผู้เขียน:
หากผลการตรวจเลือด ออกมามีทั้งเพศผู้ เพศเมีย  คงไม่ต้องสงสัยเรื่องน้ำยาแล้วครับ  

ที่ผมเจอคือ 6 ตัว ตัวผู้หมด  เลยต้องโทรไปแย้งซะหน่อย แล้วอยากที่บอกไว้ว่า เขาโทรมาขอตัวอย่างใหม่ 2 ตัวเท่านั้น เขาบอกว่า ไม่แน่ใจแค่ 2 ตัว  แต่ผมขอวัดส่งใหม่ 10 ตัวเพื่อยืนยันความน่าเชื่อถือ  โดยที่ไม่บอกหมายเลขเดิม ใส่เป็นเบอร์ 1 - 10 ซึ่งผลออกมาตรงเดิม 8 ตัว และ อีก 2 ตัว ที่ไม่ตรงคือ 2 ตัวที่เขาขอให้ส่งผลเลือดใหม่ครับ [/color] [/font]ขอบคุณครับลุงน้อย...ผลการตรวจของผมคงจะดีแต่ก่อนหน้านี้ผมเองก็ถูงหลอกมาหลายลายเลยครับ..ขนาดลูกป้อนเกร์ยที่ลุงน้อยเห็นที่บ้านผมคงจำได้ มันยังเป็นเพศเดียวกันเลย
นี่ถ้าผมมีควารู้ในการแยกเพศของนกเบื่องต้นก่อนตัดสินใจซื้อ และทำข้อตกลงอย่างที่ลุงน้อยแนะนำไว้ ในโพส พวกมือใหม่อย่างพวกผมคงจะรู้ทันพวงพ่อค้าที่นิสัยเสียกันบ่างนะครับ อย่างน้อยเราก็ลดโอกาศที่จะเกิดการผิดผลาดลงไปได้มากเลยครับ
อ้างถึงลุงน้อย เป็นผู้เขียน:
หากผลการตรวจเลือด ออกมามีทั้งเพศผู้ เพศเมีย  คงไม่ต้องสงสัยเรื่องน้ำยาแล้วครับ  

ที่ผมเจอคือ 6 ตัว ตัวผู้หมด  เลยต้องโทรไปแย้งซะหน่อย แล้วอยากที่บอกไว้ว่า เขาโทรมาขอตัวอย่างใหม่ 2 ตัวเท่านั้น เขาบอกว่า ไม่แน่ใจแค่ 2 ตัว  แต่ผมขอวัดส่งใหม่ 10 ตัวเพื่อยืนยันความน่าเชื่อถือ  โดยที่ไม่บอกหมายเลขเดิม ใส่เป็นเบอร์ 1 - 10 ซึ่งผลออกมาตรงเดิม 8 ตัว และ อีก 2 ตัว ที่ไม่ตรงคือ 2 ตัวที่เขาขอให้ส่งผลเลือดใหม่ครับ [/color] ขอบคุณครับลุงน้อย...ผลการตรวจของผมคงจะดีแต่ก่อนหน้านี้ผมเองก็ถูงหลอกมาหลายลายเลยครับ..ขนาดลูกป้อนเกร์ยที่ลุงน้อยเห็นที่บ้านผมคงจำได้ มันยังเป็นเพศเดียวกันเลย
นี่ถ้าผมมีควารู้ในการแยกเพศของนกเบื่องต้นก่อนตัดสินใจซื้อ และทำข้อตกลงอย่างที่ลุงน้อยแนะนำไว้ ในโพส พวกมือใหม่อย่างพวกผมคงจะรู้ทันพวงพ่อค้าที่นิสัยเสียกันบ่างนะครับ อย่างน้อยเราก็ลดโอกาศที่จะเกิดการผิดผลาดลงไปได้มากเลยครับ
อ้างถึงลุงน้อย เป็นผู้เขียน:
หากผลการตรวจเลือด ออกมามีทั้งเพศผู้ เพศเมีย  คงไม่ต้องสงสัยเรื่องน้ำยาแล้วครับ  

ที่ผมเจอคือ 6 ตัว ตัวผู้หมด  เลยต้องโทรไปแย้งซะหน่อย แล้วอยากที่บอกไว้ว่า เขาโทรมาขอตัวอย่างใหม่ 2 ตัวเท่านั้น เขาบอกว่า ไม่แน่ใจแค่ 2 ตัว  แต่ผมขอวัดส่งใหม่ 10 ตัวเพื่อยืนยันความน่าเชื่อถือ  โดยที่ไม่บอกหมายเลขเดิม ใส่เป็นเบอร์ 1 - 10 ซึ่งผลออกมาตรงเดิม 8 ตัว และ อีก 2 ตัว ที่ไม่ตรงคือ 2 ตัวที่เขาขอให้ส่งผลเลือดใหม่ครับ [/color] [/font][/size]ผมถึงเชื่อว่า น้ำยาที่ตรวจ หากทำตามวิธีที่ถูกต้องแล้ว ต้องได้ผลที่ยืนยันได้ครับ  แล้วผลของคุณกิตติ มีท้ง ผู้และเมีย ไม่น่าจะมีปัญหานะครับ

สำหรับการส่องกล้องนั้น  ได้ผลแน่นอนกว่าการตรวจเลือดชัวร์  แต่มักจะทำกับนกใหญ่ เพราะจะได้รู้ถึงความสมบูรณ์ของนกตัวนั้นๆ ว่าพร้อมจะทำพันธุ์หรือไม่  ทำให้รู้ว่า มีความหวังที่จะต้องรออีกนานเพียงใดครับ
:-D   8-)  :pint:  :hammer:

...

เรื่องการแบ่งแยกเพศ  แม้แต่ในต่างประเทศตรวจสอบยังมีโอกาสผิดพลาดเลยครับ  ( กรณีนี้คงต้องถามป๋าเชษฐ์ ) ตรวจน้องไฮตัวผู้ กลายเป็นตัวเมีย  เลยต้องตรวจซ้ำ ..... สรุปเป็นผู้ขอรับกระผม

รูปร่างหน้าตา  มันบอกกันได้ยากครับ  บางแหล่งข้อมูลให้ดูลักษณะ สรีระ และอื่น ๆ  แต่ก็คงไม่ผลการเจาะเลือดตรวจ  อาจจะทำซ้ำ ๆ สักหลาย ๆ ครั้งเพื่อความชัวร์ หรือเปลี่ยนแหล่งตรวจเพื่อเป็นการยืนยันครับ  

sparrow

ชัวร์ที่สุดคือ การใช้กล้องส่องภายในครับ  สามารถบอกระยะของของระบบสืบพันธุ์ได้ด้วย
laboratory of Animal Reproductive Biotechnology
รับบริจาคนกที่สิ้นชีวิตแล้วเพื่อการศึกษา......เป็นวิทยาทานนะคร้าบบบบบบบบ