เพื่อนคนไหนทราบข้อมูลสนธิสัญญาCITES ที่มีบทบาทต่อนกแก้วมาคอว์และนกกระตั้วบ้างครับ

เริ่มโดย Anitashin, มกราคม 30, 2010, 10:30:36 หลังเที่ยง

หัวข้อก่อนหน้า - หัวข้อถัดไป

0 สมาชิก และ 1 ผู้มาเยือน กำลังดูหัวข้อนี้

Anitashin

ตามนั้นเลยนะครับ
อยากทราบว่าในไซเตส หรือกฎหมายไทยที่มีต่อนก2ชนิดนนี้ ระบุอะไรเอาไว้บ้าง เช่นการห้ามค้า ห้ามจับ ห้ามๆๆๆสารพัดห้ามอะไรอีกไหม...เอาไว้เป็นความรู้ เวลามีตำรวจมา กวน มารีดไถ จะได้เถียงได้อย่างมีน้ามหนัก... หรือเพียงแค่มีคนเข้ามาถามก็ตามทีครับ....
~อริยะผิดมาก
~~นักปราชญ์ผิดน้อย  
~~~ปุถุชนไม่ผิดเลย :idea:

Anitashin

~อริยะผิดมาก
~~นักปราชญ์ผิดน้อย  
~~~ปุถุชนไม่ผิดเลย :idea:

Anitashin

ชื่อ เจ้าทิพย์ ครับบบบผม
มาโชว์ตัวสักเล็กน้อยครับบบบบ ขอความเห็นหน่อยครับบ ท่าทางอายุเท่าไหร่แล้วนะ กว๊ากกก
~อริยะผิดมาก
~~นักปราชญ์ผิดน้อย  
~~~ปุถุชนไม่ผิดเลย :idea:

ปุ๊ก

ผมไม่แน่ว่าเค้าจับกันยังไง เพิ่งจะเริ่มศึกษาเรื่องนี้เหมือนกัน
แต่ที่แน่ๆก็คือ ห้ามนำเข้าและส่งออก  แต่มันก็มีข้อยกเว้นอยู่
อย่างเช่น มันแบ่งเป็น บัญชี 1,2,3 นกที่เพาะพันในที่เลี้ยงอะไรทำนองนี้
ยังไงผู้เชี่ยวชาญช่วยมาไขอีกทีครับ

เคยเห็นในเวบของกรมอุทยานฯบัญชีไซเตส แต่ตอนนี้หาไม่เจอ
มีหนังสืออยู่ยังไงจะพยายามเอาลงเวบให้ดูกันแต่ทั้งหมดมันเยอะมาก จะเอาเฉพาะนกปากขอมาลงละกัน
มือใหม่แต่ใจรัก

Anitashin

ถ้าเป็นเช่นนั้นจริงๆจะขอบคุณมากครับ ที่นำข้อมูลเรื่องราวดีๆ ทางกฎหมายมาบอกกล่าวกันครับบบบ จะได้มีความรุ้รอบด้านเลยล่ะ
มีคนถามหลายคน คำตอบของผมมันไม่มีน้ามหนักเท่าไหร่ แค่บอกว่า ไม่ผิดๆ เท่านั้นเองครับบบ

  ขอบคุณครับบผมมม
~อริยะผิดมาก
~~นักปราชญ์ผิดน้อย  
~~~ปุถุชนไม่ผิดเลย :idea:

ปุ๊ก

เจอแระ ลองเข้าไปดูครับศึษามาซักระยะแล้วแต่ยังไม่ค่อยเข้าใจ <<<<<

นกปากขออยู่ลำดับ 500กว่าๆ

อันที่จริงผมคิดว่าตำรวจเค้าก็ไม่ค่อยจะรู้เรื่องนี้เท่าไหร่
เราก็ปริ๊น บัญชีให้เค้าดูว่านกเราไม่มีในบัญชีนี้ ถึงมีผมเองก็ไม่รู้อยู่ดี
แต่ผมคิดว่าปัญหาอยู่ที่การขนย้ายที่ต้องขออนุญาตกับปศุสัตว์
ซึ่งปศุสัตว์เองก้ไม่ได้ตั้งด่านตรวจหรอกครับ มีแต่ตำรวจ ถ้ารถเราไม่ถูกเรียกตรวจเค้าก็ไม่เห้น  (เป้นความคิดเห้นส่วนตัวนะครับ)
ถ้าWMหรือเพื่อนๆเห้นว่าไม่เหมาะสมยังไงก้ต้องขออภัยด้วยนะครับ
มือใหม่แต่ใจรัก

Anitashin

นกแก้วมาคอว์อยู่บัญชีที่1 อย่างนี้หมายความว่าอย่างไร เขาคุ้มครองอะไร มีบทข้อห้ามหรือไม่ อย่างไรบ้างครับ

...ถึงจะห้ามก็ไม่สน เพราะจะเลี้ยง ด้วยใจรักมิใช่ทึกทัก กักขังให้ทรมาณ
~อริยะผิดมาก
~~นักปราชญ์ผิดน้อย  
~~~ปุถุชนไม่ผิดเลย :idea:

nok

อย่าไปสนใจมันเลยไอ้พวกนี้ ถ้าอยากเลี้ยงก็เลี้ยงไปเถอะไม่มีใครมาสนใจหรอกแต่ระวังแค่อย่าให้มีคนร้องเรียนแล้วกันคนเดียวก็เป็นเรื่องได้ บลูโกลค์เท่าที่จำได้ไม่ใช่ cites1 ต้องเป็นสกาเล็ต

แต่จะจับได้ต้องมีการนำเข้าซื้อขายวุ่นวายไปหมดและจะต้องมีเจ้าของมาจับด้วยมันก็คล้ายกับของละเมิดลิขสิทธ์แต่สุดท้ายมันก็ทำอะไรเราไม่ได้ก็เราเพาะเลี้ยงได้เองแล้วมีซื้อขายกันทั่วไป
แต่ถ้ามันจะจับก็บอกให้มันจับให้หมดนะอย่าเลือกปฏิบัติ

สุดท้ายคืออยากเลี้ยงอะไรก็เลี้ยงไปเหอะไม่ต้องไปกลัวมันหรอกเค้าเลี้ยงกันทั่วบ้านทั่วเมือง

lux005

แล้วบัญชี 1 เลี้ยงได้ไหมครับ มีพวกไหนบ้างครับที่เป็นบัญชี 1 ครับ จะได้เลี้ยงถูก

Anitashin

มันไม่ใช่ความกลัวที่จะเลี้ยงหรอกครับ"nok " ที่ถามเรื่องนี้ เพื่อความรู้ประดับตัว ไว้ใช้ในการเลี้ยงนก หรือเลี้ยงอะไรก็ตาม...
ถ้ากลัวมากขนาดนั้น คงไม่คิดจะเลี้ยงหรอกครับ แต่เมื่ออยากรู้ ก็ต้องอยากได้คำตอบ เพราะกฏหมายมันก็มีอยู่ เราจำเป็นต้องรู้เอาไว้เวลามีปัญหาอะไรที่ไม่คาดถึง...มีคนถาม??จะได้เถียงได้ถูก ไม่แลดูว่าเราโง่น่ะ
~อริยะผิดมาก
~~นักปราชญ์ผิดน้อย  
~~~ปุถุชนไม่ผิดเลย :idea:

dexdoi

อ้างถึงAnitashin เป็นผู้เขียน:
ตามนั้นเลยนะครับ
อยากทราบว่าในไซเตส หรือกฎหมายไทยที่มีต่อนก2ชนิดนนี้ ระบุอะไรเอาไว้บ้าง เช่นการห้ามค้า ห้ามจับ ห้ามๆๆๆสารพัดห้ามอะไรอีกไหม...เอาไว้เป็นความรู้ เวลามีตำรวจมา กวน มารีดไถ จะได้เถียงได้อย่างมีน้ามหนัก... หรือเพียงแค่มีคนเข้ามาถามก็ตามทีครับ....

ไม่ได้มีความรู้มากมาย
แต่ก็พอมีข้อมูลบ้าง
ลองศึกษาดูครับ

ไซเตส (CITES)
เป็นคำย่อของอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ (The Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora) หรือเรียกกันทั่วไปว่า อนุสัญญาวอชิงตัน (Washington Convention)
จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2503 ถือเป็นอนุสัญญาที่นานาชาติร่วมมือกันเพื่อควบคุมการค้า การนำเข้า การส่งออก การนำผ่านแดน และการขนส่งสัตว์ป่า ไม่ให้กระทบกระเทือนต่อการอยู่รอดของชนิดพันธุ์นั้นๆ ด้วยการสร้างเครือข่ายทั่วโลก ในการควบคุมการค้าระหว่างประเทศ (International Trade) ทั้งสัตว์ป่า พืชป่าและผลิตภัณฑ์ แต่อนุสัญญาไซเตสไม่มีส่วนในการควบคุมการค้าภายในประเทศสำหรับชนิดพันธุ์ท้องถิ่น (Native Species) ปัจจุบันสำนักงานเลขาธิการ CITES ตั้งอยู่ที่กรุงโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ บริหารงานโดยองค์การ UNEP (United Nation Environment Programme) และได้รับทุนสนับสนุนจากประเทศภาคีที่ปัจจุบันมีทั้งสิ้น 135 ประเทศ (พ.ศ. 2540)
dexdoi

dexdoi

อ้างถึงdexdoi เป็นผู้เขียน:
อ้างถึงAnitashin เป็นผู้เขียน:
ตามนั้นเลยนะครับ
อยากทราบว่าในไซเตส หรือกฎหมายไทยที่มีต่อนก2ชนิดนนี้ ระบุอะไรเอาไว้บ้าง เช่นการห้ามค้า ห้ามจับ ห้ามๆๆๆสารพัดห้ามอะไรอีกไหม...เอาไว้เป็นความรู้ เวลามีตำรวจมา กวน มารีดไถ จะได้เถียงได้อย่างมีน้ามหนัก... หรือเพียงแค่มีคนเข้ามาถามก็ตามทีครับ....

ไม่ได้มีความรู้มากมาย
แต่ก็พอมีข้อมูลบ้าง
ลองศึกษาดูครับ

ไซเตส (CITES)
เป็นคำย่อของอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ (The Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora) หรือเรียกกันทั่วไปว่า อนุสัญญาวอชิงตัน (Washington Convention)
จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2503 ถือเป็นอนุสัญญาที่นานาชาติร่วมมือกันเพื่อควบคุมการค้า การนำเข้า การส่งออก การนำผ่านแดน และการขนส่งสัตว์ป่า ไม่ให้กระทบกระเทือนต่อการอยู่รอดของชนิดพันธุ์นั้นๆ ด้วยการสร้างเครือข่ายทั่วโลก ในการควบคุมการค้าระหว่างประเทศ (International Trade) ทั้งสัตว์ป่า พืชป่าและผลิตภัณฑ์ แต่อนุสัญญาไซเตสไม่มีส่วนในการควบคุมการค้าภายในประเทศสำหรับชนิดพันธุ์ท้องถิ่น (Native Species) ปัจจุบันสำนักงานเลขาธิการ CITES ตั้งอยู่ที่กรุงโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ บริหารงานโดยองค์การ UNEP (United Nation Environment Programme) และได้รับทุนสนับสนุนจากประเทศภาคีที่ปัจจุบันมีทั้งสิ้น 135 ประเทศ (พ.ศ. 2540)

หน้าที่ของประเทศภาคีอนุสัญญาไซเตส
1. ประเทศภาคีต้องมีมาตรการในการบังคับใช้อนุสัญญาไซเตส มิให้มีการค้าสัตว์ป่า พืชป่า ผิดระเบียบอนุสัญญาไซเตส โดยมีมาตรการลงโทษผู้ค้า ผู้ครอบครอง ริบของกลางและส่งของกลางกลับแหล่งกำเนิด กรณีทราบถิ่นกำเนิด
2. ต้องตั้งด่านตรวจสัตว์ป่า พืชป่า ระหว่างประเทศ เพื่อควบคุมและตรวจสอบการค้าสัตว์ป่า พืชป่า และการขนส่งที่ปลอดภัยตามระเบียบอนุสัญญาไซเตส
3. ต้องส่งรายงานประจำปีเกี่ยวกับสถิติการค้าสัตว์ป่า พืชป่าของประเทศตน แก่สำนักเลขาธิการไซเตส
4. ต้องจัดตั้งคณะทำงานฝ่ายปฏิบัติการและคณะทำงานฝ่ายวิทยาการประจำประเทศ เพื่อควบคุมการค้าสัตว์ป่า พืชป่า
5. มีสิทธ์เสนอเปลี่ยนแปลงชนิดพันธุ์ในบัญชีหมายเลข 1,2,3 (Appendix I-?-?) ให้ภาคีพิจารณา
dexdoi

dexdoi

อ้างถึงdexdoi เป็นผู้เขียน:
อ้างถึงdexdoi เป็นผู้เขียน:
อ้างถึงAnitashin เป็นผู้เขียน:
ตามนั้นเลยนะครับ
อยากทราบว่าในไซเตส หรือกฎหมายไทยที่มีต่อนก2ชนิดนนี้ ระบุอะไรเอาไว้บ้าง เช่นการห้ามค้า ห้ามจับ ห้ามๆๆๆสารพัดห้ามอะไรอีกไหม...เอาไว้เป็นความรู้ เวลามีตำรวจมา กวน มารีดไถ จะได้เถียงได้อย่างมีน้ามหนัก... หรือเพียงแค่มีคนเข้ามาถามก็ตามทีครับ....

ไม่ได้มีความรู้มากมาย
แต่ก็พอมีข้อมูลบ้าง
ลองศึกษาดูครับ

ไซเตส (CITES)
เป็นคำย่อของอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ (The Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora) หรือเรียกกันทั่วไปว่า อนุสัญญาวอชิงตัน (Washington Convention)
จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2503 ถือเป็นอนุสัญญาที่นานาชาติร่วมมือกันเพื่อควบคุมการค้า การนำเข้า การส่งออก การนำผ่านแดน และการขนส่งสัตว์ป่า ไม่ให้กระทบกระเทือนต่อการอยู่รอดของชนิดพันธุ์นั้นๆ ด้วยการสร้างเครือข่ายทั่วโลก ในการควบคุมการค้าระหว่างประเทศ (International Trade) ทั้งสัตว์ป่า พืชป่าและผลิตภัณฑ์ แต่อนุสัญญาไซเตสไม่มีส่วนในการควบคุมการค้าภายในประเทศสำหรับชนิดพันธุ์ท้องถิ่น (Native Species) ปัจจุบันสำนักงานเลขาธิการ CITES ตั้งอยู่ที่กรุงโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ บริหารงานโดยองค์การ UNEP (United Nation Environment Programme) และได้รับทุนสนับสนุนจากประเทศภาคีที่ปัจจุบันมีทั้งสิ้น 135 ประเทศ (พ.ศ. 2540)

หน้าที่ของประเทศภาคีอนุสัญญาไซเตส
1. ประเทศภาคีต้องมีมาตรการในการบังคับใช้อนุสัญญาไซเตส มิให้มีการค้าสัตว์ป่า พืชป่า ผิดระเบียบอนุสัญญาไซเตส โดยมีมาตรการลงโทษผู้ค้า ผู้ครอบครอง ริบของกลางและส่งของกลางกลับแหล่งกำเนิด กรณีทราบถิ่นกำเนิด
2. ต้องตั้งด่านตรวจสัตว์ป่า พืชป่า ระหว่างประเทศ เพื่อควบคุมและตรวจสอบการค้าสัตว์ป่า พืชป่า และการขนส่งที่ปลอดภัยตามระเบียบอนุสัญญาไซเตส
3. ต้องส่งรายงานประจำปีเกี่ยวกับสถิติการค้าสัตว์ป่า พืชป่าของประเทศตน แก่สำนักเลขาธิการไซเตส
4. ต้องจัดตั้งคณะทำงานฝ่ายปฏิบัติการและคณะทำงานฝ่ายวิทยาการประจำประเทศ เพื่อควบคุมการค้าสัตว์ป่า พืชป่า
5. มีสิทธ์เสนอเปลี่ยนแปลงชนิดพันธุ์ในบัญชีหมายเลข 1,2,3 (Appendix I-?-?) ให้ภาคีพิจารณา

ระบบการควบคุมของอนุสัญญาไซเตส

การค้าสัตว์ป่า พืชป่าและผลิตภัณฑ์ระหว่างประเทศ จะถูกควบคุมโดยระบบใบอณุญาต (Permit) โดยที่สัตว์ป่าและพืชป่าที่อนุสัญญาไซเตสควบคุม จะต้องมีใบอนุญาตในการนำเข้า ส่งออก นำผ่านและส่งกลับออกไป ชนิดพันธุ์ของสัตว์ป่าและพืชป่าที่อนุสัญญาไซเตสควบคุม โดยได้กำหนดหลักการไว้ดังนี้
dexdoi

dexdoi

อ้างถึงdexdoi เป็นผู้เขียน:
อ้างถึงdexdoi เป็นผู้เขียน:
อ้างถึงdexdoi เป็นผู้เขียน:
อ้างถึงAnitashin เป็นผู้เขียน:
ตามนั้นเลยนะครับ
อยากทราบว่าในไซเตส หรือกฎหมายไทยที่มีต่อนก2ชนิดนนี้ ระบุอะไรเอาไว้บ้าง เช่นการห้ามค้า ห้ามจับ ห้ามๆๆๆสารพัดห้ามอะไรอีกไหม...เอาไว้เป็นความรู้ เวลามีตำรวจมา กวน มารีดไถ จะได้เถียงได้อย่างมีน้ามหนัก... หรือเพียงแค่มีคนเข้ามาถามก็ตามทีครับ....

ไม่ได้มีความรู้มากมาย
แต่ก็พอมีข้อมูลบ้าง
ลองศึกษาดูครับ

ไซเตส (CITES)
เป็นคำย่อของอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ (The Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora) หรือเรียกกันทั่วไปว่า อนุสัญญาวอชิงตัน (Washington Convention)
จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2503 ถือเป็นอนุสัญญาที่นานาชาติร่วมมือกันเพื่อควบคุมการค้า การนำเข้า การส่งออก การนำผ่านแดน และการขนส่งสัตว์ป่า ไม่ให้กระทบกระเทือนต่อการอยู่รอดของชนิดพันธุ์นั้นๆ ด้วยการสร้างเครือข่ายทั่วโลก ในการควบคุมการค้าระหว่างประเทศ (International Trade) ทั้งสัตว์ป่า พืชป่าและผลิตภัณฑ์ แต่อนุสัญญาไซเตสไม่มีส่วนในการควบคุมการค้าภายในประเทศสำหรับชนิดพันธุ์ท้องถิ่น (Native Species) ปัจจุบันสำนักงานเลขาธิการ CITES ตั้งอยู่ที่กรุงโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ บริหารงานโดยองค์การ UNEP (United Nation Environment Programme) และได้รับทุนสนับสนุนจากประเทศภาคีที่ปัจจุบันมีทั้งสิ้น 135 ประเทศ (พ.ศ. 2540)

หน้าที่ของประเทศภาคีอนุสัญญาไซเตส
1. ประเทศภาคีต้องมีมาตรการในการบังคับใช้อนุสัญญาไซเตส มิให้มีการค้าสัตว์ป่า พืชป่า ผิดระเบียบอนุสัญญาไซเตส โดยมีมาตรการลงโทษผู้ค้า ผู้ครอบครอง ริบของกลางและส่งของกลางกลับแหล่งกำเนิด กรณีทราบถิ่นกำเนิด
2. ต้องตั้งด่านตรวจสัตว์ป่า พืชป่า ระหว่างประเทศ เพื่อควบคุมและตรวจสอบการค้าสัตว์ป่า พืชป่า และการขนส่งที่ปลอดภัยตามระเบียบอนุสัญญาไซเตส
3. ต้องส่งรายงานประจำปีเกี่ยวกับสถิติการค้าสัตว์ป่า พืชป่าของประเทศตน แก่สำนักเลขาธิการไซเตส
4. ต้องจัดตั้งคณะทำงานฝ่ายปฏิบัติการและคณะทำงานฝ่ายวิทยาการประจำประเทศ เพื่อควบคุมการค้าสัตว์ป่า พืชป่า
5. มีสิทธ์เสนอเปลี่ยนแปลงชนิดพันธุ์ในบัญชีหมายเลข 1,2,3 (Appendix I-?-?) ให้ภาคีพิจารณา

ระบบการควบคุมของอนุสัญญาไซเตส

การค้าสัตว์ป่า พืชป่าและผลิตภัณฑ์ระหว่างประเทศ จะถูกควบคุมโดยระบบใบอณุญาต (Permit) โดยที่สัตว์ป่าและพืชป่าที่อนุสัญญาไซเตสควบคุม จะต้องมีใบอนุญาตในการนำเข้า ส่งออก นำผ่านและส่งกลับออกไป ชนิดพันธุ์ของสัตว์ป่าและพืชป่าที่อนุสัญญาไซเตสควบคุม โดยได้กำหนดหลักการไว้ดังนี้

ระบบการควบคุมของอนุสัญญาไซเตส

การค้าสัตว์ป่า พืชป่าและผลิตภัณฑ์ระหว่างประเทศ จะถูกควบคุมโดยระบบใบอณุญาต (Permit) โดยที่สัตว์ป่าและพืชป่าที่อนุสัญญาไซเตสควบคุม จะต้องมีใบอนุญาตในการนำเข้า ส่งออก นำผ่านและส่งกลับออกไป ชนิดพันธุ์ของสัตว์ป่าและพืชป่าที่อนุสัญญาไซเตสควบคุม โดยได้กำหนดหลักการไว้ดังนี้

ชนิดพันธุ์ในบัญชีหมายเลข 1 (Appendix I) เป็นชนิดพันธุ์สัตว์ป่าและพืชป่าที่ห้ามค้าโดยเด็ดขาดเนื่องจากใกล้จะสูญพันธุ์ ยกเว้นเพื่อการศึกษา วิจัย หรือเพาะพันธุ์ ซึ่งจะต้องได้รับความยินยอมจากประเทศที่จะนำเข้เสียก่อน ประเทศส่งออกจึงจะออกใบอนุญาตส่งออกได้ ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงความอยู่รอดของชนิดพันธุ์นั้นๆ ด้วย

ชนิดพันธุ์ในบัญชีหมายเลข 2 (Appendix II) เป็นชนิดพันธุ์ของสัตว์ป่าและพืชป่าที่ยังไม่ถึงกับใกล้จะสูญพันธุ์ จึงยังอนุญาตให้ค้าได้ แต่ต้องมีการควบคุมไม่ให้เกิดความเสียหายหรือปริมาณลงอย่างรวดเร็วจนถึงจุดใกล้จะสูญพันธุ์ โดยประเทศที่ส่งออกต้องออกหนังสืออนุญาตให้ส่งออกและรับรองว่าการส่งออกแต่ละครั้ง จะไม่กระทบกระเทือนต่อการดำรงอยู่ของชนิดพันธุ์นั้นๆ ในธรรมชาติ

ชนิดพันธุ์ในบัญชีหมายเลข 3 (Appendix III) เป็นชนิดพันธุ์ที่ได้รับการคุ้มครองตามกฎมายของประเทศใดประเทศหนึ่ง แล้วขอความร่วมมือประเทศภาคีให้ช่วยดูแลการนำเข้า คือต้องมีหนังสือรับรองการส่งออกจากประเทศถิ่นกำเนิด
dexdoi

dexdoi

อ้างถึงdexdoi เป็นผู้เขียน:
อ้างถึงdexdoi เป็นผู้เขียน:
อ้างถึงdexdoi เป็นผู้เขียน:
อ้างถึงdexdoi เป็นผู้เขียน:
อ้างถึงAnitashin เป็นผู้เขียน:
ตามนั้นเลยนะครับ
อยากทราบว่าในไซเตส หรือกฎหมายไทยที่มีต่อนก2ชนิดนนี้ ระบุอะไรเอาไว้บ้าง เช่นการห้ามค้า ห้ามจับ ห้ามๆๆๆสารพัดห้ามอะไรอีกไหม...เอาไว้เป็นความรู้ เวลามีตำรวจมา กวน มารีดไถ จะได้เถียงได้อย่างมีน้ามหนัก... หรือเพียงแค่มีคนเข้ามาถามก็ตามทีครับ....

ไม่ได้มีความรู้มากมาย
แต่ก็พอมีข้อมูลบ้าง
ลองศึกษาดูครับ

ไซเตส (CITES)
เป็นคำย่อของอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ (The Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora) หรือเรียกกันทั่วไปว่า อนุสัญญาวอชิงตัน (Washington Convention)
จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2503 ถือเป็นอนุสัญญาที่นานาชาติร่วมมือกันเพื่อควบคุมการค้า การนำเข้า การส่งออก การนำผ่านแดน และการขนส่งสัตว์ป่า ไม่ให้กระทบกระเทือนต่อการอยู่รอดของชนิดพันธุ์นั้นๆ ด้วยการสร้างเครือข่ายทั่วโลก ในการควบคุมการค้าระหว่างประเทศ (International Trade) ทั้งสัตว์ป่า พืชป่าและผลิตภัณฑ์ แต่อนุสัญญาไซเตสไม่มีส่วนในการควบคุมการค้าภายในประเทศสำหรับชนิดพันธุ์ท้องถิ่น (Native Species) ปัจจุบันสำนักงานเลขาธิการ CITES ตั้งอยู่ที่กรุงโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ บริหารงานโดยองค์การ UNEP (United Nation Environment Programme) และได้รับทุนสนับสนุนจากประเทศภาคีที่ปัจจุบันมีทั้งสิ้น 135 ประเทศ (พ.ศ. 2540)

หน้าที่ของประเทศภาคีอนุสัญญาไซเตส
1. ประเทศภาคีต้องมีมาตรการในการบังคับใช้อนุสัญญาไซเตส มิให้มีการค้าสัตว์ป่า พืชป่า ผิดระเบียบอนุสัญญาไซเตส โดยมีมาตรการลงโทษผู้ค้า ผู้ครอบครอง ริบของกลางและส่งของกลางกลับแหล่งกำเนิด กรณีทราบถิ่นกำเนิด
2. ต้องตั้งด่านตรวจสัตว์ป่า พืชป่า ระหว่างประเทศ เพื่อควบคุมและตรวจสอบการค้าสัตว์ป่า พืชป่า และการขนส่งที่ปลอดภัยตามระเบียบอนุสัญญาไซเตส
3. ต้องส่งรายงานประจำปีเกี่ยวกับสถิติการค้าสัตว์ป่า พืชป่าของประเทศตน แก่สำนักเลขาธิการไซเตส
4. ต้องจัดตั้งคณะทำงานฝ่ายปฏิบัติการและคณะทำงานฝ่ายวิทยาการประจำประเทศ เพื่อควบคุมการค้าสัตว์ป่า พืชป่า
5. มีสิทธ์เสนอเปลี่ยนแปลงชนิดพันธุ์ในบัญชีหมายเลข 1,2,3 (Appendix I-?-?) ให้ภาคีพิจารณา

ระบบการควบคุมของอนุสัญญาไซเตส

การค้าสัตว์ป่า พืชป่าและผลิตภัณฑ์ระหว่างประเทศ จะถูกควบคุมโดยระบบใบอณุญาต (Permit) โดยที่สัตว์ป่าและพืชป่าที่อนุสัญญาไซเตสควบคุม จะต้องมีใบอนุญาตในการนำเข้า ส่งออก นำผ่านและส่งกลับออกไป ชนิดพันธุ์ของสัตว์ป่าและพืชป่าที่อนุสัญญาไซเตสควบคุม โดยได้กำหนดหลักการไว้ดังนี้

ระบบการควบคุมของอนุสัญญาไซเตส

การค้าสัตว์ป่า พืชป่าและผลิตภัณฑ์ระหว่างประเทศ จะถูกควบคุมโดยระบบใบอณุญาต (Permit) โดยที่สัตว์ป่าและพืชป่าที่อนุสัญญาไซเตสควบคุม จะต้องมีใบอนุญาตในการนำเข้า ส่งออก นำผ่านและส่งกลับออกไป ชนิดพันธุ์ของสัตว์ป่าและพืชป่าที่อนุสัญญาไซเตสควบคุม โดยได้กำหนดหลักการไว้ดังนี้

ชนิดพันธุ์ในบัญชีหมายเลข 1 (Appendix I) เป็นชนิดพันธุ์สัตว์ป่าและพืชป่าที่ห้ามค้าโดยเด็ดขาดเนื่องจากใกล้จะสูญพันธุ์ ยกเว้นเพื่อการศึกษา วิจัย หรือเพาะพันธุ์ ซึ่งจะต้องได้รับความยินยอมจากประเทศที่จะนำเข้เสียก่อน ประเทศส่งออกจึงจะออกใบอนุญาตส่งออกได้ ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงความอยู่รอดของชนิดพันธุ์นั้นๆ ด้วย

ชนิดพันธุ์ในบัญชีหมายเลข 2 (Appendix II) เป็นชนิดพันธุ์ของสัตว์ป่าและพืชป่าที่ยังไม่ถึงกับใกล้จะสูญพันธุ์ จึงยังอนุญาตให้ค้าได้ แต่ต้องมีการควบคุมไม่ให้เกิดความเสียหายหรือปริมาณลงอย่างรวดเร็วจนถึงจุดใกล้จะสูญพันธุ์ โดยประเทศที่ส่งออกต้องออกหนังสืออนุญาตให้ส่งออกและรับรองว่าการส่งออกแต่ละครั้ง จะไม่กระทบกระเทือนต่อการดำรงอยู่ของชนิดพันธุ์นั้นๆ ในธรรมชาติ

ชนิดพันธุ์ในบัญชีหมายเลข 3 (Appendix III) เป็นชนิดพันธุ์ที่ได้รับการคุ้มครองตามกฎมายของประเทศใดประเทศหนึ่ง แล้วขอความร่วมมือประเทศภาคีให้ช่วยดูแลการนำเข้า คือต้องมีหนังสือรับรองการส่งออกจากประเทศถิ่นกำเนิด

ด้านล่างเป็นรายชื่อ นกปากขอ ที่ติดอนุสัญญา CITES APPENDIX-1

Blue-chested Parakeet
Blue-throated Macaw
Cuban Parrot
Forbes's Parakeet
Glaucous Macaw
Goffin's Cockatoo
Golden Parakeet
Great Green Macaw
Horned Parakeet
Hyacinth Macaw
Kakapo
Lear's Macaw
Lilac-crowned Amazon
Maroon-fronted Parrot
Mauritius Parakeet
Military Macaw
Night Parrot
Orange-bellied Parrot
Philippine Cockatoo
Puerto Rican Parrot
Red-And-Blue Lory
Red-browed Amazon
Red-fronted Macaw
Red-fronted Parakeet
Red-necked Parrot
Red-spectacled Amazon
Red-tailed Amazon
Salmon-crested Cockatoo
Spix's Macaw
St Lucia Parrot
St Vincent Parrot
Thick-billed Parrot
Tucaman Parrot
Ultramarine Lorikeet
Vinaceous Amazon
Yellow-crested Cockatoo
Yellow-eared Parrot
Yellow-shouldered Amazon
dexdoi