อยากให้มีห้องโชว์นกจังคับ

เริ่มโดย Dieselxxx, มีนาคม 03, 2009, 11:15:39 ก่อนเที่ยง

หัวข้อก่อนหน้า - หัวข้อถัดไป

0 สมาชิก และ 2 ผู้มาเยือน กำลังดูหัวข้อนี้

Dieselxxx

อยากให้มีห้องโชว์นกจังคับ จะได้เห็นว่านกของแต่ละท่านเป็นอย่างไรกันบ้างคับ

...

อ้างถึงDieselxxx เป็นผู้เขียน:
อยากให้มีห้องโชว์นกจังคับ จะได้เห็นว่านกของแต่ละท่านเป็นอย่างไรกันบ้างคับ

ห้องโชว์  คล้ายกับตู้โชว์  หรือปล่าวครับ ???

และทำไว้เพื่ออะไรครับ ???


 :-?  :-?  :-?

bios_m

ผมว่าอาจจะไม่ค่อยดีครับ อาจจะเป็นการชี้นำขโมยได้ครับ และนกบางชนิดยังติดไซเตสอยู่
RE-AMEMIYA : ลมป่าภูเขาไฟ

tee_arts


Noru

อ้างถึงtee_arts เป็นผู้เขียน:
อะไคคือไซเตสครับ
ไซเตส (CITES) คือ อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์
(Convention on lnternational Tradein Endangered Species of Wild Fauna and Flora)
เป้าหมาย & เจตนารมณ์ของอนุสัญญาไซเตส เพื่อต้องการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่าและพืชป่าในโลกเพื่อ
ประโยชน์แห่งมวลมนุษย์ชาติของชนรุ่นนี้ และอนุชนรุ่นต่อไปโดยเน้นทรัพยากรสัตว์ป่าและพืชป่าใกล้จะสูญพันธุ์หรือถูก
คุกคามจนอาจเป็นเหตุให้สูญพันธุ์ได้ในอนาคตโดยสร้างเครือข่ายทั่วโลกในการควบคุมการค้าระหว่างประเทศ ทั้งสัตว์ป่า
และพืชป่าตลอดจนผลิตภัณฑ์
 พืชป่าในอนุสัญญาไซเตสที่ใกล้จะสูญพันธุ์
       - บัญชีที่ 1 หมายถึง ชนิดพันธุ์ที่ใกล้จะสูญพันธุ์ ห้ามทำการค้า โดยเด็ดขาดยกเว้นเพื่อการศึกษา วิจัย หรือขยาย
พันธุ์เทียมซึ่งจะต้องได้รับการยินยอมจากประเทศที่จะนำเข้าเสียก่อน ประเทศส่งออกจึงจะออกใบอนุญาตให้ทั้งนี้ต้อง
คำนึงถึงความอยู่รอดของชนิดพันธุ์นั้นๆ ด้วย เช่น กล้วยไม้หายากบางชนิด ได้แก่ กล้วยไม้สกุลรองเท้านารี และฟ้ามุ้ย
เป็นต้น
พืชป่าชนิดอื่นที่อยู่ในสถานะอันตราย
        - บัญชีที่ 2 หมายถึง ชนิดพันธุ์ที่มีแนวโน้มใกล้จะสูญพันธุ์ อนุญาตให้ค้าขายได้แต่ต้องมีการควบคุม ไม่ให้
เสียหายหรือจำนวนประชากรลดปริมาณลงอย่างรวดเร็วจนใกล้จะสูญพันธุ์ ทั้งนี้ประเทศที่จะส่งออกจะต้องควบคุมไม่ให้
กระทบกระเทือนต่อการดำรงอยู่ของชนิดพันธุ์นั้น ๆ ในธรรมชาติ
         - บัญชีที่ 3 หมายถึง ชนิดพันธุ์ที่ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายของประเทศใดประเทศหนึ่งแล้วขอความ
ร่วมมือจากประเทศภาคีให้ช่วยดูแลในการนำเข้าด้วย กล่าวคือ จะต้องมีหนังสือรับรองการส่งออกจากประเทศถิ่นกำเนิด
           - ปริมาณพืชป่าในอนุสัญญาไซเตส
      บัญชีที่ 1       = 310 ชนิด
      บัญชีที่ 2       = 24,881 ชนิด
      บัญชีที่ 3       = 6 ชนิด
           - กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอนุสัญญาไซเตส (ประเทศไทย) ได้แก่
สัตว์ป่า (Fauna) พ.ร.บ. สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535
พืชป่า (Flora) พ.ร.บ.พันธุ์พืช พ.ศ. 2518 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ.พันธุ์พืช (ฉบับที่ 2) 2535
การปฏิบัติงานตามอนุสัญญาไซเตส (ประเทศไทย) แบ่งความรับผิดชอบดังนี้
      -   กรมวิชาการเกษตร ------------ พืชป่า (Flora)
      -  กรมป่าไม้ ------------------ สัตว์ป่า (Fauna)
      -  กรมประมง ----------------- ปลาและสัตว์น้ำ (Fauna)
สาระสำคัญ พ.ร.บ. พันธุ์พืช (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2535
พืชอนุรักษ์ หมายถึง พืชป่าในบัญชีแนบท้ายอนุสัญญา CITES (มาตรา 3, มาตรา 29 ทวิ)
        - ห้ามมิให้ผู้ใด นำเข้า ส่งออกหรือนำผ่านพืชอนุรักษ์และซากของพืชอนุรักษ์ เว้นแต่ได้รับหนังสืออนุญาต
(CITES Permits) จากอธิบดีกรมวิชาการเกษตร หรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย (มาตรา 29 ตรี)
       - ผู้ใดประสงค์จะขยายพันธุ์เทียมพืชอนุรักษ์เพื่อการค้า ให้ยื่นคำขอเป็นหนังสือเพื่อขอขึ้นทะเบียนสถานที่
เพาะเลี้ยงอนุรักษ์เพื่อการค้าต่อกรมวิชาการเกษตร (มาตรา 29 จัตวา)
      - การขยายพันธุ์เทียมต้องกระทำภายใต้การจัดการและควบคุมสภาวะแวดล้อมโดยมนุษย์ เพื่อการผลิตพันธุ์
และต้องคงปริมาณพ่อ - แม่พันธุ์ไว้ (มาตรา 3 และประกาศกรมฯ)
(การยื่นขอจดทะเบียนสถานที่เพาะเลี้ยงพืชอนุรักษ์เพื่อการค้า ยื่น ณ สำนักคุ้มครองพันธุ์พืชแห่งชาติ กรมวิชา
การเกษตร ซึ่งปัจจุบันเปลี่ยนเป็นกองคุ้มครองพันธุ์พืช)
บทกำหนดโทษ
        ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 29 ตรี (ไม่มีหนังสืออนุญาต CITES) หรือ ไม่ปฏิบัติตามมาตรา 29 จัตวา (ไม่ยื่นขอจดทะเบียนสถานีที่เพาะเลี้ยงพืชอนุรักษ์เพื่อการค้า) ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 เดือน หรือปรับไม่เกิน 3,000 บาท หรือ
ทั้งจำทั้งปรับ
         การขอหนังสืออนุญาตไซเตส
อนุญาตนำเข้า การอนุญาตให้นำเข้า จะต้องมีหนังสืออนุญาตส่งออกจากประเทศต้นทางกำกับมาด้วย


 

tee_arts


boy.

อ้างถึงNoru เป็นผู้เขียน:
อ้างถึงtee_arts เป็นผู้เขียน:
อะไคคือไซเตสครับ
ไซเตส (CITES) คือ อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์
(Convention on lnternational Tradein Endangered Species of Wild Fauna and Flora)
เป้าหมาย & เจตนารมณ์ของอนุสัญญาไซเตส เพื่อต้องการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่าและพืชป่าในโลกเพื่อ
ประโยชน์แห่งมวลมนุษย์ชาติของชนรุ่นนี้ และอนุชนรุ่นต่อไปโดยเน้นทรัพยากรสัตว์ป่าและพืชป่าใกล้จะสูญพันธุ์หรือถูก
คุกคามจนอาจเป็นเหตุให้สูญพันธุ์ได้ในอนาคตโดยสร้างเครือข่ายทั่วโลกในการควบคุมการค้าระหว่างประเทศ ทั้งสัตว์ป่า
และพืชป่าตลอดจนผลิตภัณฑ์
 พืชป่าในอนุสัญญาไซเตสที่ใกล้จะสูญพันธุ์
       - บัญชีที่ 1 หมายถึง ชนิดพันธุ์ที่ใกล้จะสูญพันธุ์ ห้ามทำการค้า โดยเด็ดขาดยกเว้นเพื่อการศึกษา วิจัย หรือขยาย
พันธุ์เทียมซึ่งจะต้องได้รับการยินยอมจากประเทศที่จะนำเข้าเสียก่อน ประเทศส่งออกจึงจะออกใบอนุญาตให้ทั้งนี้ต้อง
คำนึงถึงความอยู่รอดของชนิดพันธุ์นั้นๆ ด้วย เช่น กล้วยไม้หายากบางชนิด ได้แก่ กล้วยไม้สกุลรองเท้านารี และฟ้ามุ้ย
เป็นต้น
พืชป่าชนิดอื่นที่อยู่ในสถานะอันตราย
        - บัญชีที่ 2 หมายถึง ชนิดพันธุ์ที่มีแนวโน้มใกล้จะสูญพันธุ์ อนุญาตให้ค้าขายได้แต่ต้องมีการควบคุม ไม่ให้
เสียหายหรือจำนวนประชากรลดปริมาณลงอย่างรวดเร็วจนใกล้จะสูญพันธุ์ ทั้งนี้ประเทศที่จะส่งออกจะต้องควบคุมไม่ให้
กระทบกระเทือนต่อการดำรงอยู่ของชนิดพันธุ์นั้น ๆ ในธรรมชาติ
         - บัญชีที่ 3 หมายถึง ชนิดพันธุ์ที่ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายของประเทศใดประเทศหนึ่งแล้วขอความ
ร่วมมือจากประเทศภาคีให้ช่วยดูแลในการนำเข้าด้วย กล่าวคือ จะต้องมีหนังสือรับรองการส่งออกจากประเทศถิ่นกำเนิด
           - ปริมาณพืชป่าในอนุสัญญาไซเตส
      บัญชีที่ 1       = 310 ชนิด
      บัญชีที่ 2       = 24,881 ชนิด
      บัญชีที่ 3       = 6 ชนิด
           - กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอนุสัญญาไซเตส (ประเทศไทย) ได้แก่
สัตว์ป่า (Fauna) พ.ร.บ. สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535
พืชป่า (Flora) พ.ร.บ.พันธุ์พืช พ.ศ. 2518 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ.พันธุ์พืช (ฉบับที่ 2) 2535
การปฏิบัติงานตามอนุสัญญาไซเตส (ประเทศไทย) แบ่งความรับผิดชอบดังนี้
      -   กรมวิชาการเกษตร ------------ พืชป่า (Flora)
      -  กรมป่าไม้ ------------------ สัตว์ป่า (Fauna)
      -  กรมประมง ----------------- ปลาและสัตว์น้ำ (Fauna)
สาระสำคัญ พ.ร.บ. พันธุ์พืช (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2535
พืชอนุรักษ์ หมายถึง พืชป่าในบัญชีแนบท้ายอนุสัญญา CITES (มาตรา 3, มาตรา 29 ทวิ)
        - ห้ามมิให้ผู้ใด นำเข้า ส่งออกหรือนำผ่านพืชอนุรักษ์และซากของพืชอนุรักษ์ เว้นแต่ได้รับหนังสืออนุญาต
(CITES Permits) จากอธิบดีกรมวิชาการเกษตร หรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย (มาตรา 29 ตรี)
       - ผู้ใดประสงค์จะขยายพันธุ์เทียมพืชอนุรักษ์เพื่อการค้า ให้ยื่นคำขอเป็นหนังสือเพื่อขอขึ้นทะเบียนสถานที่
เพาะเลี้ยงอนุรักษ์เพื่อการค้าต่อกรมวิชาการเกษตร (มาตรา 29 จัตวา)
      - การขยายพันธุ์เทียมต้องกระทำภายใต้การจัดการและควบคุมสภาวะแวดล้อมโดยมนุษย์ เพื่อการผลิตพันธุ์
และต้องคงปริมาณพ่อ - แม่พันธุ์ไว้ (มาตรา 3 และประกาศกรมฯ)
(การยื่นขอจดทะเบียนสถานที่เพาะเลี้ยงพืชอนุรักษ์เพื่อการค้า ยื่น ณ สำนักคุ้มครองพันธุ์พืชแห่งชาติ กรมวิชา
การเกษตร ซึ่งปัจจุบันเปลี่ยนเป็นกองคุ้มครองพันธุ์พืช)
บทกำหนดโทษ
        ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 29 ตรี (ไม่มีหนังสืออนุญาต CITES) หรือ ไม่ปฏิบัติตามมาตรา 29 จัตวา (ไม่ยื่นขอจดทะเบียนสถานีที่เพาะเลี้ยงพืชอนุรักษ์เพื่อการค้า) ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 เดือน หรือปรับไม่เกิน 3,000 บาท หรือ
ทั้งจำทั้งปรับ
         การขอหนังสืออนุญาตไซเตส
อนุญาตนำเข้า การอนุญาตให้นำเข้า จะต้องมีหนังสืออนุญาตส่งออกจากประเทศต้นทางกำกับมาด้วย


 

หน้าที่ของไซเตส

บทบาทและหน้าที่ของอนุสัญญาไซเตสที่ประเทศไทยเป็นหนึ่งในโลกที่ได้ร่วมลงนามรับรองในเงื่อนไข ที่ตกลงร่วมกันนั้น มีหน้าที่ดังนี้

สมาชิกมีหน้าที่รักษาและบังคับใช้อนุสัญญาไซเตส มิให้มีการค้าสัตว์ป่า พืชป่าที่ผิดระเบียบอนุสัญญาฯ และจะต้องมีมาตรการลงโทษผู้ค้า ผู้ครอบครอง ริบของกลาง และส่งของกลางกลับแหล่งกำเนิด กรณีที่ทราบ แหล่งกำเนิด
ต้องมีการตั้งด่านตรวจสัตว์ป่า พืชป่าระหว่างประเทศ เพื่อควบคุมและตรวจสอบการค้าสัตว์ป่า พืชป่า และการขนส่งที่ปลอดภัยตามระเบียบในอนุสัญญาไซเตส
ต้องส่งรายงานประจำปีเกี่ยวกับสถิติการค้าสัตว์ป่า พืชป่าของประเทศตนแก่สำนักเลขาอนุสัญญา ไซเตส
ต้องจัดตั้งคณะทำงานฝ่ายปฎิบัติการ และคณะทำงานฝ่ายวิทยาการประจำประเทศ เพื่อควบคุม การค้าสัตว์ป่า พืชป่า
มีสิทธิ์เสนอขอเปลี่ยนแปลงชนิดพันธุ์ในบัญชี Appendix 1. 2 และ 3 ให้ภาคีพิจารณา
อนุสัญญาไซเตสคุ้มครองอะไรบ้าง

การคุ้มครองตามอนุสัญญาฉบับนี้ ครอบคลุมทั้งสัตว์ป่าและพืชป่า โดยระบบใบอนุญาต ซึ่งหมายความ ว่า สัตว์ป่าที่อยู่ในการควบคุมของอนุสัญญาไซเตส จะต้องมีใบอนุญาตต่อไปนี้

นำเข้า
ส่งออก
นำผ่าน
ส่งกลับออก
ชนิดของสัตว์ป่าและพืชป่าที่ไซเตสควบคุมจะระบุไว้ในบัญชี หมายเลข 1, 2 และ 3 ของอนุสัญญาฯ โดยได้กำหนดหลักการไว้ดังนี้

ชนิดพันธุ์ในบัญชีหมายเลข 1 เป็นชนิดพันธุ์ของสัตว์ป่าและพืชป่าที่ห้ามค้าโดยเด็ดขาด เนื่องจากใกล้ สูญพันธุ์ ยกเว้นเพื่อการศึกษาวิจัย หรือเพาะพันธุ์ ซึ่งจะต้องได้รับความยินยอมจากประเทศที่นำเข้าเสียก่อน ประเทศ ส่งออกจึงจะออกใบอนุญาติส่งออกได้ ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงความอยู่รอดของชนิดพันธุ์นั้นๆ ด้วย ชนิดพันธุ์ของไทย เช่น กระทิง จระเข้น้ำจืด จระเข้น้ำเค็ม ช้างเอเชีย เสื่อโคร่ง แรด หมีควาย สมเสร็จ เต่าหลายชนิด กล้วยไม้หายาก บางชนิด และทั่วไป เช่น อุรังอุตัง กอริลลา หมีแพนด้ายักษ์ ปลาวาฬยักษ์ เสือซีตาร์ เสือโคร่ง เต่าทะเล นกกระเรียน

ชนิดพันธุ์หมายเลข 2 เป็นพันธุ์ของสัตว์ป่าและพืชป่าที่ยังไม่ถึงกับใกล้สูญพันธุ์ จึงยังอนุญาตให้ค้าได้ แต่ต้องมีการควบคุมไม่ให้เกิดความเสียหายหรือลดปริมาณลงอย่างรวดเร็วจนถึงจุดใกล้สูญพันธุ์ โดยประเทศที่ส่ง ออกต้องออกหนังสืออนุญาตให้ส่งออกและรับรองว่าการส่งออกแต่ละครั้งจะไม่กระทบกระเทือนต่อการดำรงชีวิต ของชนิดพันธุ์นั้น ๆในธรรมชาติ เช่น ค้างคาวแม่ไก่ทุกชนิด ลิง ค่าง นกหลายชนิด ชะมด นาก ปลาโลมา งูหลายชนิด พืชประเภทหม้อข้าวหม้อแกงลิง ฯลฯ

ชนิดพันธุ์หมายเลข 3 เป็นชนิดพันธุ์ที่ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายของประเทศใดประเทศหนึ่ง แล้ว ขอความร่วมมือประเทศภาคี ช่วยดูแลในการนำเข้า คือ จะต้องมีหนังสือรับรองการส่งออกจากประเทศถิ่นกำเนิด เช่น ควาย (เนปาล) นกขุนทอง (ไทย)

สัตว์ป่าชนิดที่หายากและใกล้จะสูญพันธุ์ของประเทศไทย ชึ่งจัดอยู่ในบัญชีหมายเลข 1
ลำดับ ที่ ชนิดสัตว์ป่า ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานภาพ


สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
1 กระทิง Gaur Bos gaurus
Bos frontalir
2 กวางผา Goral Naemorheadus goral ส
3 กูปรี Kouprey Bos sauveli ส
4 ชะนีทุกชนิดในวงศ์
Hylobatidae
ชะนีธรรมดา White-hand Gibbon Hylobates lar
ชะนีมงกุฏ Pileated Gibbon Hylobates pieatus
ชะนีมือดำ Agile Gibbon Hylobates agiles
5 ชะมดแปลงลายจุด
อีเห็นลายเสือ Spotted Linsang
Tiger Civet Prionodon pardicolor
6 ช้าง Asian Elephant Elephus maximus
7 นากใหญ่ธรรมดา Common Otter Lutra lutra
8 เนื้อทราย Hog Deer Cervus porcinus annamiticus
9 ปลาวาฬแกลบครีบดำ Sei Whale Balaenoptera borearis --
10 ปลาวาฬมิงค์ Minke Whale Balaenoptera acutotrostrata --
11 ปลาวาฬหัวทุย Sperm Whale physeter mocrocephalus
physeter catodon --
12 พะยูนหรือหมูน้ำ Sea Cow or Dugong Dugong dugon ส
13 แมวดาว Indian Leopard Cat Felis bengalensis bengalensis
14 แมวป่าหัวแบน Flat-deaded Cat Felis planicep
15 แมวลายหินอ่อน Marble Cat Felis marmorata ส
16 แรด Javan Rhinoceros Rhinoceros sondaicus ส
17 กระซู่ Sumatran rhinoceros Dicerorhinus sumatrensis ส
18 ละองหรือละมั่ง Eld's Deer Cervus eldi ส
19 เลียงผา Sumatran Serow Capricornis sumatraensis ส
20 โลมาน้ำจืดในสกุล
( Genus ) Sotalia
ปลาโลมาขาวเทา Plumbeous Dolphin Sotalia plumbea --
ปลาโลมาขาวทะเลใต้ Indonesia White Dolphin Sotalia boneensis --
21 ปลาโลมาหัวบาตรหลังเรียบ Finless Porpoise Peophoceana phoceanoides --
22 สมเสร็จ Asian or Malayan Tapir Tapirus indicus ส
23 เสือโคร่ง Tiger Panthera tigris
24 เสือดาวหรือเสือดำ Leopard Panthera pardus
25 เสือไฟ Asian Golden Cat Felis temmincki
26 เสือลายเมฆ Clouded Leopard Neofelis nebulosa
27 หมีควาย Asiatic Black Bear Selenarctos thibetanus or
Uraus thibetanus
28 หมีหมาหรือหมีคน Malayan Sun Bear Helarctos malayanus


สัตว์จำพวกนก
1 ไก่ฟ้าหางลายขวาง Hume's Bar-tailed Pheasant Syrmaticus humiae
2 นกกาฮัง Homrai Great Indian Hornbill Buceros bicornis homrai
3 นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร Whit-eyed River Martin Pseudochelidon sirintarae ส
4 นกโจรสลัดเกาะคริสต์มาส Christmas Island Frigate Bird Fregata andrewsi _
5 นกชนหิน Helmeted Hornbill Rhinoplex vigil
6 นกชาปีไหน Nicobar Pigeon Caleonas nicobarica
7 นกชายเลนเขียวลายจุด spotted Greenshank Tringa guttifer _
8 นกแต้วแล้วท้องดำ Gurney's Pitta Pitta gurneyi ส
9 เป็ดก่า White-winged Wood Duck Cairina scutulata
10 เหยี่ยวเพเรกวิน Peregrine Falcon Falco peregrinus or
Falco peregrinoides or
Falco babylonicus


สัตว์ป่าจำพวกเลื้อยคลาน
1 จระเข้น้ำเค็ม Salt Water Crocodile Crocodylus porosus
2 จระเข้น้ำจืด Siamese Crocodile Crocodylus siamensis
3 ตะกวด indian or Bengal Moniter Valanus Bengalensis
4 ตะโขง False Gavial Tomistoma Schlegelii
5 เต่ากระอาน River Terapin Batager baska

ลำดับที่ ชนิดสัตว์ป่า ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานภาพ
6 เต่าทะเลทุกชนิดในวงศ์
( Family ) Cheloniidae
เต่ากระ Hawkbill Turtle Bletmochelys imbricata
เต่าอาน, เต่าตะนุ Green Turtle Chelonia mydas
เต่าทะเลลอกเกอร์เฮด Loggerhead Turtle Caretta caretta
เต่าหญ้าตาแดง Ridley's Turtle Lepidochelys olivacea
7 เต่ามะเฟือง Leather-backed Turtle Dermochelys coriacea

สัตว์ป่าชนิดที่หาได้ยากของไทย ซึ่งจัดอยู่ในบัญชีแนบท้ายหมายเลข 2 ของอนุสัญญา CITES
ลำดับที่ ชนิดสัตว์ป่า ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานภาพ


สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
1ค้างคาวแม่ไก่ทุกชนิดในสกุล Pteropus
้างคาวแม่ไก่ภาคกลาง Lyle's Flying Fox Pteropur lylei
้างคาวแม่ไก่เกาะ Island Flying Fox Pteropus hypomelanus
้างคาวแม่ไก่ป่าฝน Common Flying Fox Pteropus vampyrus
2 ชะมดแปลงลายแถบ Banded Linsang Prionodon linsang
3 นากทุกชนิดในวงศ์ย่อย
(Subfamily Lutrinae)
นากใหญ่ขนเรียบ Smooth-coated Otter Lutra perspicillata
นากใหญจมูกขน Hairy-nosed Otter Lutra sumatrana
นากเล็กเล็บสั้น Small-clawed Otter Aonyx cinerea
4 ปลาวาลและปลาโลมา
ในอันดับ Cetacon
ปลาโลมาจุด Rough-toothed Dolphin Steno bredanensis _
ปลาโลมาหัวขวดมลายู Malayan Dolphin Stenella malayana _
ปลาโลมาหัวขวดธรรมดา Common Dolphin Dhilphinus delphis _

ลำดับที่ ชนิดสัตว์ป่า ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานภาพ
ปลาโลมาหัวขวดปากสั้น Eastern Bottle-nosed Dolphin Tursiops aduncus _
ปลาโลมาหัวบาตรครีบหลัง Irrawaddy Dollphin Orcealla brevirostris _
ปลาวาฬแกลบครีบขาวดำ Lesser Roroual or Minke Whale Baleanoptera acutorostrata _
5 พญากระรอกทุกชนิดใน
สกุล (Genus) Ratufa
พญากระรอกดำ Black Giant Sqiurrel Ratufa bicolor
พญากระรอกเหลือง Cream-colored Giant Squirrel Ratufa affinis
6 ไพรเมททุกชนิดในอันดับ
(Order) Primates
กระแตทุกชนิดในวงศ์
(Family) Tupiidae
ลิงลม Slow Loris Nycticebus coucang
ลืงกัง Pig-tailed Macaque Macaca nemestrina
ลิงไอ้เงื้ยะ Assamese Macaque Macaca assameasis
ลิงเสน Stump-tailed Macaque Macaca arctoides
ลิงวอก Rhesus Macaque Macaca mulatta
ลิงแสม Crab-eating Macaque Macaca fascicularis
่างดำ Banded Langer Presbitis melalophos
่างแว่นถิ่นใต้ Dusky or Spectacled Langer Presbitis obscura
่างหงอก Silver Langer Presbitis cristata
่างแว่นถิ่นเหนือ Phayre's Langer Presbitis prayei
กระแตธรรมดา Common Treeshrew Tupaia glis _
กระแตเล็ก Pygmy Treeshrew Tupaia minor _
กระแตหางหนู Nprthern Smooth-tailed Treeshrew Dendrogale murina _
กระแตหางขนนก Feather-tailed Treeshrew Ptilocercus _
7 ลิ่นหรือนิ่มพันธุ์มลายู Malayan Pangolin Manis javanica
8 เสือ แมวป่าทุกชนิดในวงศ์ (Family) Felidae
เสือปลา Fishing Cat Felis viverrina
แมวป่า Jungle Cat Felis chaus

ลำดับที่ ชนิดสัตว์ป่า ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานภาพ
9 หมาไน Asiatic Wild Dog Cuon alpinus _
10 อีเห็นน้ำ Otter Civet Cinogel bennetti
11 อีเห็นลายพาด Banded Palm Civet Hamigalus derbyanus


สัตว์จำพวกนก
1 นกกก,นกกาฮัง Great Hornbill Baceros bicornis
2 นกกระเรียนทุกชนิดในวงศ์ (Family) Gruidae
นกกระเรียน Sarus Crane Grus antigone ส
3 นกกระสาดำ Black Stork Ciconia nigra
4 นกแก้ว นกแขกเต้า และนกทุกชนิดในอันดับ
(Order) Psittaciformes
นกแก้วโม่ง Alexandrine Parakeet Psittacula eupatria
นกแขกเต้า Black-breasted Parakeet Psitta alexandri
นกแก้วหัวแพร Blossom-headed Parakeet Psitta roseata
นกกะลิง,นกกะแล Gray-headed Parakeet Psitta finschii
นกหกใหญ่ Blue-rumped Parrot Psitta cyanurus
นกหกเล็กปากแดง Indian Hanging Lorikeet Loriculus vernalis
นกหกเล็กปากดำ Malay Hanging Lorikeet Loriculus galgulus
5 นกเค้า นกแสก และนกทึดทือทุกชนิดในอันดับ
(Order) Strigiformes
นกแสก Barn Owl Tyto alba
นกแสกแดง Bay Oel Phodelus badius --
นกเค้าเหยี่ยว Brow Hawk-owl Ninox acutulata
นกเค้าหน้าผากขาว White-fronted Scops-owl Otus sagittatus
นกเค้าแดง Reddish Scops-owl Otus rufescens
นกเค้าภุเขา Mountain Scops-owl Otus spilocephalus
นกเค้าหูยาวเล็ก Common Scops-owl Otus scops
นกฮูก Collared Scops-owl Otus bakkamoena
นกเค้าแคระ Collared Owlet Glaucidium brodiei
นกเค้าโมง, นกเค้าแมว Asian Barred Owlet Glaucidium cuculoides
นกเค้าจุด spotted Owlet Athene brame

ลำดับที่ ชนิดสัตว์ป่า ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ สาถนภาพ
นกเค้าป่าหลังจุด Spotted Wood-owl Strix seloputo
นกเค้าป่าสีน้ำตาล Brown Wood-owl Strix leptogrammica
นกเค้าแมวหูสั้น Short-eared Owl Asio flammeus
นกเค้าใหญ่พันธุ์เนปาล Spot-bellied Eagle-owl Bubo nipalensis
นกเค้าใหญ่พันธุ์สุมาตรา Barred Eagle-owl Bubo sumatranus
นกเค้าใหญ่สีคล้ำ Dusky Eagle-owl Bubo coromandus
นกทึดทือพันธุ์เหนือ Brown Fish-owl Ketupa zelonensis
นกทึดทือมลายู Buffy Fish-owl Ketupa keyupa
นกเงือกหัวแรด Malayan Rhinoceros Hornbill Buceros rhinoceros
นกแต้วแล้วลาย Banded Pitta Pitta gaujana
8 นกเป็ดหงส์ Comb or Knob-billed Duck Sarkidiornis melanotos
9 นกยูง Green Peafowl Pavo muticus
10 นกเหยี่ยว และนกอินทรีทุกชนิดในอันดับ
(Order) Falconiformes
เหยี่ยวออสเปร Osprey Pandion haliaetus
เหยี่ยวขาว Black-shouldered Kite Elanus caeruleus
เหยี่ยวดำ Black Kite Milvus migrans
เหยี่ยวแดง Brahmmny Kite Haliastur indus
เหยี่ยวกิ้งก่าสีน้ำตาล Jerdon's Baza Aviceda jerdoni
เหยี่ยวกิ้งก่าสีดำ Black Baza Aviceda leuphotes
เหยี่ยวนกเขาหงอน Crested Goshawk Accipiter trivergatus
เหยี่ยวนกเขาท้องขาว Northern Goshawk Accipiter gentiris
เหยี่ยวนกกระจอกใหญ่ Northern Sparrowhawk Accipiter nisus
เหยี่ยวนกเขาพันธุ์จีน Chines Goshawk Accipiter soloensis
เหยี่ยวนกเขาชีครา Shikra Accipiter badius
เหยี่ยวนกกระจอกเล็ก Besra Accipiter virgatus
เหยี่ยวนกเขาพันธุ์จีน Japanese Sparrowhawk Accipiter gularis
เหยี่ยวผึ้ง Crested Honey-buzzard Pernis ptilorhynchus
เหยี่ยวทะเลไทย Common Buzzard Buteo buteo
เหยี่ยวปีกแดง Rufous-winged Buzzard Butastur liventer
เหยี่ยวหน้าเทา Grey-face Buzzard Butastur indicus
นกอินทรีหัวนวล Pallas's Fish-eagle Haliaeetus leucoryptus
นกออก White-bellied Sea-eagle Haliaeetus leucogaster
เหยี่ยวปลาใหญ่หัวเทา Grey-headed Fish-eagle Ichthyophaga ichthyaetus
เหยี่ยวปลาเล็กหัวเทา Lesser Fish-eagle Ichthyophaga humilis
เหยี่ยวนิ้วสั้น Short-toed Eagle Circaetus gallicus
เหยี่ยวรุ้ง Crested Serpent-eagle Spironis cheala
เหยี่ยวภูเขา Mountain Hawk-eagle Spizeatus nipalensis
เหยี่ยวต่างสี Changeable Hawk-eagle Spizeatus cirrhatus
เหยี่ยวท้องขาว Blyth's Hawk-eagle Spizeatus alboniger
เหยี่ยวหงอนสีน้ำตาลท้องขาว Walles's Hawk-eagle Spizeatus nanus
เหยี่ยวท้องแดง Rufous-bellied Eagle Hieraaetus kienerii
นกอินทรีแถบปีกแดง Bonelli's Eagle Hieraaetus fasciatus -
นกอินทรีเล็ก Booted Eagle Hieraaetus pennatus -
นกอินทรีดำ Black Eagle Ictinaetus malayensis
นกอินทรีปีกลาย Greater Spotted Eagle Aguila clanga
นกอินทรีสีน้ำตาล Tawny Eagle Aguila rapax
นกอินทรีหัวไหล่ขาว Imperial Eagle Aguila heliaca
พญาแร้ง Red-headed Vulture Torgos calvus
อีแร้งดำหิมาลัย Cinereous Vulture Aegypius monachus
อีแร้งสีน้ำตาล Long-billed Vulture Gyps indicus
อีแร้งเทาหลังขาว White-rumped Vulture Gyps bengalensis
เหยี่ยวทุ่ง Eastern Mash-harrier Circus aeruginosus
เหยี่ยวทุ่งแถบเหนือ Northern Harrier Circus cyaneus
เหยี่ยวด่างดำขาว Pied Harrier Circus melanoleucos
เหยี่ยวเล็กตะโพกขาว White-rumped Falcon Polinihierax insignis
เหยี่ยวแมลงปอขาแดง Collared Falconet Microhierax carulescens
เหยี่ยวแมลงปอขาดำ Black-thighed Falconet Microhierax fringillarius
เหยี่ยวเคสเตรล Eurasian Kestrel Falco tinnunculus
เหยี่ยวตีนแดง Amur Falcon Falco vespertinus
เหยี่ยวฮอบบี้ยุโรป Northern Hobby Falco subbuteo
เหยี่ยวฮอบบี้ Oriental Hobby Falco severus
เหยี่ยวค้างคาว Bat Hawk Mcheiramphus alcinus
11 นกแว่นเทา Grey Peacock Pheasant Polyplectron bicalcaratum
12 นกแว่นสีน้ำตาล Malay Peacock Pheasant Polyplectron malacense
13 นกหว้า Great Argus Pheasant Argusianus argus


สัตว์ป่าจำพวกเลื้อยคลาน
1 งูจงอาง King Cobra Ophiophagus hannah -
2 งูสิงลาย Oriental Rat Snake Ptyus mucosus
3 งูเหลือมและงูหลามทุกชนิดในวงศ์(Family)
Boidae
งูเหลือม Reticulated Python reticulatus
งูหลาม Indian Python Python molurus bivittatus
งูหลามปากเป็ด Blood Python Python curtus
4 งูเห่า Cobra Naja naja -
5 เหี้ยและแลนทุกชนิดในสกุล (Genus) Valanus)
เหี้ย Water Moniter Valanus salvater
เห่าช้าง Black Jungle Moniter Valanus rudicollis
ตุ๊ดตู่ Red-Headed Moniter Valanus dumerilii -
แลนดอน Yellow Moniter,
Orange-headed Moniter Valanus flavescens -
6 เต่าบกทุกชนิดในวงศ์
(Family) Testudinidae
เต่าเหลือง Yellow Tortoise Testudo elongata
เต่าเดือย,เต่ากระ Impression Tortoise Testudo impressa
เต่าหก Giant Asiatic Tortoise Testudo emys


สัตว์ป่าของไทยที่จัดอยู่บัญชีหมายเลข 3 ของอนุสัญญา CITES
ลำดับที่ ชนิดสัตว์ป่า ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ สถานภาพ ประเทศต้องการให้คุ้มครอง


สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
1 หมาจิ้งจอก Asiatic Jackal Canis aureus - อินเดีย
2 หมาไม้ Yellow-throated Maten Mates flevigula or
Mates gwatkinsi อินเดีย
3 บินตุรง Binturong Arctictis binyurong อินเดีย
4 เพียงพอนเหลือง Siberian Weasel Mustela sibirica อินเดีย
5 อีเห็นธรรมดา Common Palm Civet Paradoxurus hermaphroditus - อินเดีย
6 ชะมดแผงสันหางดำ Large-spoted Civet Viverra megaspila อินเดีย
7 ชะมดแผงสันหางปล้อง Large Indian Civet Viverra Zibetha อินเดีย
8 ชะมดเช็ด Small Indian Civet Viverricula indica อินเดีย
9 พังพอนกินปู Crab-eating Mangoose Herpestes urva อินเดีย
10วายบ้าน Asiatic Buffalo Bubalus arnee - เนปาล


สัตว์จำพวกนก
1 นกกระทาดงอกสีน้ำตาล Brown-breasted Tree Partridge Arborophila brunnoprectus มาเลเซีย
2 นกกระทาดงแข้งเขียว Green-legged Tree Partridge Arborophila charltonii มาเลเซีย
3 ไก่ฟ้าหน้าเขียว Crested Fireback Pheasant Lophura ignita มาเลเซีย
4 ไก่จุก Roulroul Rollulus roulroul มาเลเซีย


สัตว์เลื้อยคลาน
1 งูปากกว้างน้ำเค็ม Common Salt Water Snake Cerberus rhynchops - อินเดีย
2 งูลายสอ Common Keelback Snake Natrix piscater or
Xenochrophis piscater - อินเดีย
3 งูแมวเซา Russell's Viper Vipera russellii - อินเดีย
หมายเหตุ ส. หมายถึง สัตว์ป่าสงวน ฝ่ายพัฒนาและส่งเสริมการอนุรักษ์สัตว์ป่า
ค. หมายถึง สัตว์ป่าคุ้มครอง ส่วนอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมป่าไม้


ดังนั้น อย่าโชว์ดีกว่าครับ
ขออภัย ผมกดราคาครับ

Noru

โชว์แบบนี้เป่า คะ ในห้องชีวะเยอะเลย ค่ะ